ค้นหาความรู้ด้านความปลอดภัย

แหล่งรวบรวมเอกสารความรู้ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันกว่า 1,407 รายการ
ค้นหาความรู้อย่างละเอียด
490+ รายงาน
440+ บทความตีพิมพ์วารสารวิชาการ
400+ สารนิพนธ์/วิทยานิพนธ์
Slide Image

ฐานข้อมูลความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนน

แหล่งรวบรวมเอกสารความรู้ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยทางถนนในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมากกว่า 1,000 ชิ้น เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าและงานวิจัย การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและความรู้ในการวางแผนและป้องกันแก้ไขอุบัติเหตุทางถนน ตลอดจนการแบ่งปันความรู้ทางสังคมออนไลน์

Slide Image

อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสีย

อุบัติเหตุทางถนนคร่าชีวิตคนไทยกว่าสองหมื่นคนในแต่ละปี และส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศปีละกว่าแสนล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3 ของ GDP และนำไปสู่ความยากจน เป็นวาระแห่งชาติที่ต้องให้ความสำคัญ การวางแผนและดำเนินมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างตรงจุด จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลและความรู้จากการศึกษาวิจัย ค้นคว้า รวบรวมและสังเคราะห์องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง

Slide Image

มาตรการด้านวิศวกรรมเพื่อความปลอดภัยทางถนน

การออกแบบถนนอย่างปลอดภัย การแก้ไขจุดเสี่ยงและจุดอันตราย การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน การใช้มาตรการทางวิศวกรรมเพื่อควบคุมความเร็วจราจร และการจัดการความปลอดภัยบริเวณข้างทาง คือ ตัวอย่างของมาตรการด้านวิศวกรรมเพื่อความปลอดภัยทางถนนที่ได้รับการยอมรับและปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก

Slide Image

พฤติกรรมเสี่ยงของผู้ใช้รถใช้ถนนเป็น

ข้อมูลจากการศึกษาและค้นคว้าวิจัยทั้งในต่างประเทศและประเทศไทย ล้วนให้ข้อสรุปที่ตรงกันว่า พฤติกรรมเสี่ยงของผู้ใช้รถใช้ถนนเป็นสาเหตุหลักที่สำคัญของอุบัติเหตุทางถนนและการบาดเจ็บ เช่น การใช้ความเร็ว เมาแล้วขับ การใช้อุปกรณ์นิรภัย การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร ความง่วงและอ่อนล้า ฯลฯ

ค้นหาตาม

ฐานข้อมูลวรรณกรรมด้านความปลอดภัยทางถนนถูกพัฒนา ขึ้นจากการรวบรวมเอกสารความรู้ประเภทต่าง ๆ ได้แก่

ค้นหาตาม

เอกสารความรู้ประเภทต่าง ๆ ถูกจัดแบ่งตามหมวดหมู่ของ เนื้อหา เพื่อความสะดวกในการค้นหา ได้แก่

เอกสารที่มี

  • การศึกษากระบวนการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการจราจรทางบก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบล ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนปี 2561
  • การจัดการข้อมูลอุบัติเหตุทางถนน
  • การศึกษาการปรับปรุงจุดกลับรถ บริเวณจุดอันตราย กรณีศึกษาหน้ากองบิน 2 จังหวัดลพบุรี