TRSL
  • thairoads
  • thaihealth
ชื่อเรื่อง โครงการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบการสารวจและประเมินค่าความเสียดทานของผิวทางเพื่อความปลอดภัย
Study and Development of Prototype to Explore and Evaluate the Pavement Friction for Safety.
บทคัดย่อ (ไทย) วิธีการเก็บข้อมูลความเสียดทานในปัจจุบันยังไม่สามารถนา มาใช้กับการจัดการในระดับโครงข่ายได้ โดยมีข้อจากัดคือระยะเวลาในการเก็บข้อมูลไม่ทันต่อการนาไปใช้บริหารจัดการสายทางของกรมทางหลวงชนบท โครงการนี้จึงกล่าวถึงการพัฒนาเครื่องมือต้นแบบ Laser MPD : DRR เพื่อเก็บค่าเฉลี่ยความลึกโพรไฟล์ของผิวทาง อันเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อค่าความเสียดทานของผิวทาง จึงเป็นที่มาของแนวคิดการเก็บค่าเฉลี่ยความลึกโพรไฟล์ (MPD) เพื่อใช้คัดกรองผิวทางให้ระดับความเสียดทานต่างๆ อย่างไรก็ตามการเก็บข้อมูลดังกล่าว มีข้อจา กัดด้านต้นทุนที่สูง ซึ่งเป็ นผลมาจากราคาของเครื่องมือสารวจ ทั้งนี้เพื่อเป็ นการเตรียมความพร้อมของงานสารวจและประเมินสภาพความเสียดทานของผิวทางในระดับโครงข่ายของกรมทางหลวงชนบทอย่างยั่งยืน จึงจา เป็ นต้องมีการศึกษาและพัฒนาเครื่องมือต้นแบบเพื่อประเมินค่าลักษณะของผิวทางในระดับประเมินผิวทางแบบหยาบ โดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ASTME 1845 และทา การสอบเทียบกับเครื่องมือสา รวจค่าเฉลี่ยความลึกโพรไฟล์ที่ได้มาตรฐานสากล รวมถึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยความลึกโพรไฟล์กับค่าสัมประสิทธ์ิความเสียดทานของผิวทาง (μ) โดยพบว่าผิวทางที่มีค่า MPD มากกว่า 1.5 มิลลิเมตร จะมีค่าสัมประสิทธ์ิความเสียดทานของผิวทางมากกว่าระดับพึงระวัง ที่ 0.35 ดังนั้นค่า MPD จึงสามารถใช้เพื่อคัดกรองสายทางที่มีค่าสัมประสิทธ์ิความเสียดทานมากกว่าระดับพึงระวังได้โครงการนี้ยังได้เสนอแนวทางการปรับปรุงสายทางในระดับโครงข่ายที่ทราบค่า MPD เพื่อช่วยการว่างแผนการซ่อมบา รุงผิวทางจากค่าความเสียดทานของผิวทางเพื่อยกระดับความปลอดภัยบนท้องถนน
บทคัดย่อ (อังกฤษ) This project presents the development of a prototype device to measure Mean Profile Depth (MPD) as Laser MPD: DRR, which indicates the characteristic of macro pavement texture. Theoretically, macro texture is a key factor that affects pavement friction. The main idea of this research is to use MPD as a surrogate factor to reflect the pavement friction at the investigatory level, since MPD can be measured with faster and more cost-effective than measuring pavement friction directly. The MPD measuring device is developed based on the ASTM E 1845. From correlation analysis between MPD and coefficient of friction (μ) of sample pavements, it was found that if MPDs are higher than 1.5 millimeter, all coefficients of pavement friction (μ) would be higher than the required investigatory level at 0.35. Therefore, MPD can be used as a threshold to reduce needs of direct friction measurement of all pavements especially at the investigatory level. As a result, it can save cost and time of data collection for friction management at a network level planning, in order to promoting the current security standard of maintenance plan for rural roads safety.
ผู้แต่ง สมัย โชติสกุล
สันติภาพ
ศิริยงค์
พรหมชาติ
พรหมชาติ
วิศณุ
ทรัพย์สมพล
สืบสกุล
พิภพมงคล
นันทวัฒน์
ลือสิงหนาท
วีระชัย
วงษ์วีระนิมิตร
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.) 2014
ปีที่เผยแพร่ (พ.ศ.) 2557
สัมมนา การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ : 19
จำนวนหน้า 8 หน้า
ประเภทเอกสาร บทความงานสัมมนาวิชาการ
ประเภทของงานสัมมนา ภายในประเทศ
คำสำคัญ ค่าเฉลี่ยความลึกโพรไฟล์; ระดับประเมินผิวทางแบบหยาบ; ค่าความเสียดทานของผิวทาง; เลเซอร์ความเร็วสูง
หมวดหมู่ การประเมินระดับความปลอดภัยของถนน
ภาษา ภาษาไทย
ลิงค์แหล่งที่มา
ไฟล์ดาวน์โหลด
อัพเดทล่าสุด 10 ตุลาคม 2557