TRSL thairoads thaihealth
ชื่อเรื่อง ศึกษาประสิทธิภาพโครงการแก้ไขจุดอันตราย (กรณีศึกษาโค้งร้อยศพจังหวัดเลย)
STUDY THE EFFECTIVENESS OF THE PROJECT TO CORRECT THE DANGER POINT (A STUDY OF DANGER CURVE IN LOEI PROVINCE)
บทคัดย่อ (ไทย) ศึกษาประสิทธิภาพการแก้ไขจุดอันตราย (กรณีศึกษาโค้งร้อยศพจังหวัดเลย) เป็นการประเมินผลโครงการแก้ไขจุดอันตรายว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้ขับขี่บริเวณจุดอันตราย สายทาง ลย.2002 (โค้งร้อยศพ) ซึ่งเป็นถนนที่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อยครั้งทําให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินโดยประเมินผลการติดตั้งอุปกรณ์ความเสียดทานของผิวทาง ปริมาณความเร็วยานพาหนะ ทัศนคติของประชาชนในพื้นที่การศึกษาต่อความเหมาะสมของโครงการ และสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบริเวณที่ติดตั้งอุปกรณ์ ศึกษาพฤติกรรมผู้ขับขี่บริเวณจุดอันตรายโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์สรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ยความเสียดทานของพื้นที่ศึกษาขณะถนนหลังดําเนินการสูงขึ้น ความเร็วเฉลี่ยในการขับขี่ของพื้นที่ศึกษาหลังดําเนินการติดตั้งอุปกรณ์ ลดลงร้อยละ 6.9 ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญ สถิติเกิดอุบัติเหตุลดลง และพฤติกรรมการขับขี่ความถี่ในการใช้เส้นทางส่วนใหญ่ 4-6 ครั้ง/สัปดาห์ร้อยละ 50.50 ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญ ส่วนใหญ่ใช้ความเร็วในการขับขี่ต่ํากว่า 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง ร้อยละ 55.00 ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญประชาชนเห็นด้วยในการดําเนินงานของโครงการ และพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ใช้บริการถนนมีแนวโน้มไปในทางที่ดีขึ้น
บทคัดย่อ (อังกฤษ) The purpose of this study was to evaluate the performance of the Road Safety Improvement project and to study drivers' behavior on The Black Spot of Route No.2002, Highway Village Loei Province, where accidents occur frequently, causing many people's lives and property losses. Evaluating the installation of the pavement friction device. Vehicle speed quantity Attitudes of the people in the education area towards the suitability of the project. And statistics of accidents that occurred in the installation area of the equipment To study the behavior of drivers at dangerous spots by using questionnaires. The results of the study were as follows: The mean of the study area’s pavement friction higher than pre-operation. The mean of the study area’s driving speed post-operation was 6.9% lower than pre-operation. Driving behavior, the study found that most of the people used cars (54.50%), followed by motorcycles (38.50%), the most frequent time to use the road was in the morning (45.00%), Using the route 4-6 times/week, (50.50%), Driving speed below 80 km/h (55.00%). Which has a significant difference People agree on the visit of the project. And driving behavior of road users is likely to improve Keywords: Evaluate the effectiveness of fixing dangerous spots, driving behavior of service users.
ผู้แต่ง กิ่งเก้า พรหมโคตร
ปวีณา
จันทร์ลา
ธันยารัตน์
เสถียรนาม
วรวิทย์
โพธิ์จันทร์
อนุชาติ
ลี้อนันต์ศักดิ์ศิริ
ชัยชาญ
ยุวนะศิริ
คุณาธิป
รวิวรรณ
ไพฑูรย์
นาแซง
วีระวัฒน์
วรรณกุล
วุฒิพงษ์
กุศลคุ้ม
ปีที่เผยแพร่ (ค.ศ.) 2021
ปีที่เผยแพร่ (พ.ศ.) 2564
สัมมนา ชื่องานสัมนา : การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 26
ครั้งที่ : 26
จำนวนหน้า 7 หน้า
ประเภทเอกสาร บทความงานสัมมนาวิชาการ
ประเภทของงานสัมมนา ภายในประเทศ
คำสำคัญ ประเมินประสิทธิภาพการแก้ไขจุดอันตราย; พฤติกรรมการขับขี่ของผู้ใช้บริการ
หมวดหมู่ ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยง; การใช้ความเร็ว; พฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ; ทัศนคติของผู้ใช้รถใช้ถนน; จุดอันตรายและจุดเสี่ยง; เครื่องหมายและอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัย; มาตรการลดความเร็วของยานพาหนะ (Traffic calming; การวางแผนป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางถนน; การมีส่วนร่วมของชุมชน; การวิเคราะห์ข้อมูลสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน
ภาษา ภาษาไทย
ลิงค์แหล่งที่มา https://conference.thaince.org/index.php/ncce26/article/view/1224
ไฟล์ดาวน์โหลด
อัพเดทล่าสุด Tuesday, April 26, 2022